Procedure
แนะนำการทำ ESD Procedure พร้อมตัวอย่างนำไปประยุกต์ใช้งานได้จริง
– วัตถุประสงค์ (Objective)
– ขอบเขต (Scope)
– นิยาม (Definition)
– ข้อควรระวังด้านความปลอดภัย (Safety)
– ผู้รับผิดชอบ (Man of work)
– เครื่องมือ (Tools Measurement)
– แผนการควบคุม
1. การฝึกอบรม (Training)
2. วางแผนตรวจสอบตามข้อกำหนด (Compliance Verification Plan)
3. ระบบการต่อกราว์ด / จุดเชื่อมต่อ
4. การต่อสายกราว์ดสำหรับพนักงาน (Personnel Grounding)
5. ข้อกำหนดเขตพื้นที่ป้องกันการคายประจุไฟฟ้าสถิต (EPA Requirement)
6. ระบบ ควบคุมสำหรับบรรจุภัณฑ์ (Packing Systems)
7. การทำเครื่องหมาย (Marking) / สัญญลักษณ์ (Symbol)
8. กำหนดเงื่อนไขของการตรวจสอบสำหรับ Compliance Verification
9. กำหนดเงื่อนไขของการตรวจสอบสำหรับ Product Qualification
– อุปกรณ์ป้องกันไฟฟ้าสถิต (ESD Safe) ที่ใช้ในพื้นที่ EPA’s
– ข้อปฏิบัติ: เมื่อมีฉนวนในพื้นที่ป้องกันไฟฟ้าสถิต